หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
สินค้าและบริการ
ปั๊มลมแบบลูกสูบ
ปั๊มลมระบบสกรู
เครื่องทำลมแห้ง
เครื่องอัดแก๊สและไนโตรเจน
Inovance inverter
โบรชัวร์
ติดต่อเรา
เรื่องน่ารู้...ปั๊มลม
ขอใบเสนอราคา
10 June 2022
Air Dryer คืออะไร ทำไมต้องมีในระบบปั๊มลม?
Air Dryer คืออะไร ทำไมต้องมีในระบบปั๊มลม?
Air Dryer คือ
เครื่องทำลมแห้ง
ใช้ทำงานร่วมกันกับ Air Compressor หรือ ปั๊มลม หน้าที่หลักของ Air Dryer คือลดปริมาณน้ำและความชื้นที่ปนมาในระบบลมอัดก่อนเข้าสู่อุปกรณ์เครื่องมือลมหรือเครื่องจักรเพื่อให้ได้ลมที่สะอาดปราศจากความชื้นและนำไปใช้งานต่อได้อย่างสมบูรณ์ หลักการทำงานและประโยชน์ของ Air Dryer โดยปกติลมที่ถูกผลิตจากเครื่องปั๊มลมนั้นจะมีน้ำและความชื้นปะปนมาด้วยเมื่อต้องการนำลมไปใช้งาน เครื่องจักรทั่วไปจะไม่ต้องการน้ำ ละอองน้ำ หรือความชื้นปะปนมากกับลม และตัวกรองลม (Air Filter) ทั่วไปแล้วจะไม่สามารถกรองน้ำและความชื้นได้เครื่องทำลมแห้งจึงเป็นตัวที่จะช่วยนำน้ำหรือความชื้นให้เกิดการควบแน่นด้วยน้ำยาทำความเย็นหรือเม็ดสารดูดความชื้นแล้วระบายน้ำออกมาทำให้ได้ลมที่มีความแห้งและบริสุทธิ์
ทำไมจึงต้องมี Air Dryer (เครื่องทำลมแห้ง)
เครื่องทำลมแห้ง
มีหน้าที่ดูดความชื้นจากลมที่ผลิตมาจาก เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมก่อนที่จะนำไปใช้ในการผลิตหรือใช้งานต่างๆ เผื่อไม่ให้เกิดน้ำในระบบก่อนนำไปใช้
เครื่องทำลมแห้ง
จะลดอุณหภูมิลมที่มาจาก
เครื่องอัดลม
ให้อยู่ที่ 2-10 องศาเซลเซียสเครื่องทำลมแห้งจะมีสารทำความเย็นในการควบแน่นความชื้นที่อยู่ในลมให้กลายเป็นของเหลวแล้วทำการระบายออกมา การเลือกเครื่องทำลมแห้งนั้นต้องดูจากอัตราการผลิตลมของเครื่องอัดลมว่าสามารถผลิตได้ปริมาณเท่าไร่และต้องคำนึงถึงอุณหภูมิและความชื้นของสถานที่ติดตั้งซึ่งจะมีผลต่อการทำความเย็นของเครื่องทำลมแห้งด้วย โดยการใช้งานนั้นต้องมีการคำนวณเลือกขนาด Air dryer ให้เหมาะสมกับขนาดของปั๊มลมเพื่อการใช้งานอย่างเต็มประสิทธิภาพ การติดตั้งส่วนใหญ่จะติดตั้ง
เครื่องทำลมแห้ง
( Air Dryer ) ในระบบลมหลังจากที่ลมได้พักจากถังพักลมมาแล้วถังพักลมจะช่วยลดอุณหภูมิของลมได้ส่วนหนึ่ง เพื่อเป็นการลดภาระของเครื่องทำลมแห้งนอกจากนี้เพราะลมที่ได้จากปั๊มลมโดยตรงนั้นเป็นลมที่มีความชื้นอิ่มตัว 100% ซึ่งความชึ้นที่มีอยู่ในลมจะเกิดเป็นหยดน้ำภายในระบบลม เมื่อมีอุณหภูมิลดลงหยดน้ำและลมชื้นนี้จะสร้างความเสียหายให้กับระบบลมของเราได้แถมยังมีโอกาสที่จะสร้างความเสียหายกับสินค้าที่ผลิตอีกด้วย
Air Dryer มี 2 ประเภท คือ
1. Refrigerated Air Dryer
(เครื่องทำลมแห้งแบบใช้น้ำยาทำความเย็น)
เป็นเครื่องทำลมแห้งแบบใช้น้ำยาทำความเย็น
ใช้งานคู่กับปั๊มลม (Air compressor) เพื่อทำให้ลมที่นำไปใช้งานนั้นแห้งและมีคุณภาพ ซึ่ง
เครื่องทำลมแห้ง
ชนิดนี้สามารถทำค่าความแห้ง pressuredew point ได้ต่ำสุดที่ 3 องศาโดยจะทำงานโดยลมที่เข้ามาจะถูกแลกเปลี่ยนอุณหภูมิกับน้ำยาทำความเย็นซึ่งจะทำให้ความชื้นที่อยู่ในลมกลั่นตัวออกเป็นน้ำและถูกระบายทิ้งโดยลมที่ผ่านกระบวนการนี้จะมีสถานะเป็นลมอัดที่แห้งและสะอาดได้มาตรฐาน
เหมาะสำหรับโรงงานผลิตทั่วไปเช่นผลิตพลาสติก โรงสีข้าว โรงหล่อเหล็ก ศูนย์บริการรถยนต์ เป็นต้น
2. DesiccantAir Dryer :
(เครื่องทำลมแห้งแบบใช้เม็ดสารดูดความชื้น) เครื่องทำลมแห้งชนิดเม็ดสาร (Desiccantair dryer) เป็น
เครื่องทำลมแห้ง
แบบใช้เม็ดสารดูดความชื้นสามารถทำ Pressure dew point ได้ตั้งแต่ -20 ถึง -70 องศาเซลเซียส ซึ่งคุณภาพลมที่ออกมา จัดเป็นลมที่มีความแห้งสูงเป็นพิเศษเหมาะกับอุตสาหกรรมเฉพาะกลุ่ม เช่น อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมยาอุตสาหกรรมพ่นสีรถยนต์ และเครื่องสำอาง เป็นต้น
หลักการทำงานของเครื่องทำลมแห้งชนิดเม็ดสาร (Desiccant Air Dryer)
การทำงานของ
เครื่องทำลมแห้ง
ชนิดเม็ดสาร (Desiccant air dryer) จะแบ่งออกเป็น 2 Tower ดังภาพด้านบน โดยอากาศจากปั๊มลม ผ่านเข้า Pre-filter (กรองอากาศชนิดหยาบ) และ Final filter (กรองอากาศชนิดละเอียด) เข้าสู่ Tower A โดยลมที่มีความชื้นจะวิ่งผ่าน actuator valve ที่เปิดอยู่ (ในขณะเดียวกัน Actuator valve ฝั่ง Tower B ก็จะคงสถานะปิด) เมื่อลมที่มีความชื้นวิ่งผ่านเม็ดสารภายใน Tower A เม็ดสารที่อยู่ภายในถังจะทำการดักจับความชื้นและปล่อยเฉพาะลมแห้งออกนอกเครื่องผ่านตัว particle filter (กรองอากาศฝุ่นแห้ง) ที่ออกแบบมาสำหรับดักจับฝุ่นที่เกิดจากการแตกตัวของเม็ดสารดูดความชื้น หลังจากนั้นลมจะผ่านออกจากเครื่องเข้าสู่ระบบส่งต่อเข้ากระบวนการผลิตภายในโรงงาน
ในขณะเดียวกันลมแห้งที่ถูกสร้างภายในTower A จะถูกแบ่งบางส่วนเข้าสู่ Tower B ผ่านตัว Nozzle เพื่อนำไปใช้สำหรับฟื้นสภาพเม็ดสารที่เกิดการอิ่มตัวจากการดูดความชื้นมาก่อนหน้าแล้ว (Regeneration process) วิธีการทำงานคือนำลมแห้งที่มีค่า pressure dew point ติดลบปล่อยให้วิ่งผ่านเม็ดสารที่มีสภาพชื้นโดยลมแห้งจาก Tower A วิ่งผ่าน nozzle เข้าทางด้านบนของ Tower B และออกทางด้านล่าง ผ่าน Silencer ที่ทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์ดูดซับเสียงลมที่สูญเสียจากการ purge เพื่อฟื้นสภาพเม็ดสารจะอยู่ที่ราว 16 - 20% และการทำงานของเครื่องทำลมแห้งชนิดเม็ดสาร (Desiccant air dryer) จะทำงานสลับกันระหว่างถังTower A และ Tower B โดยใช้วาล์วไฟฟ้า Actuator valve เป็นตัวควบคุมการทำงาน
บริษัท เดลต้า คอมเพรสเซอร์
ผู้จัดจำหน่ายปั๊มลมแบบสกรู และเครื่องอัดอากาศ สำหรับโรงงานทุกประเภท คุณภาพสูง ทนทาน แข็งแรง
สนใจติดต่อสอบถาม ได้ที่นี่
เบอร์โ์ทร :
024532374
Line ID :
https://line.me/R/ti/p/
[email protected]
Website :
https://www.aircompdelta.com
Email :
[email protected]
บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ
ปั๊มลม oil-free ใช้กับอุตสาหกรรมใดบ้าง
ซ่อมบำรุงปั๊มลมสกรูเป็นประจำช่วยอะไรบ้าง
อุปกรณ์ในปั๊มลมสกรูที่ช่วยประหยัดค่าไฟยิ่งขึ้น
เครื่องมือลมที่ใช้ควบคู่กับปั๊มลมลูกสูบ
ปั๊มลมสกรูยุคใหม่ จาก ”ลม” สู่ “ข้อมูล”
ปั๊มลมลูกสูบประกอบด้วยอะไรบ้าง ?
ไขทุกข้อสงสัย Airdryer
ปั๊มลมสกรูระบบ DSV ดีกว่าอย่างไร ?
การวัดค่าประสิทธิภาพเครื่องอัดอากาศ
ปั๊มลมอุตสาหกรรมมีความสำคัญอย่างไร ? กับโรงงานอุตสาหกรรม
2 แนวทางประหยัดกับค่าไฟที่เพิ่มขึ้นตามนโยบายรัฐ ด้วยปั๊มลมสกรู
ปั๊มลมแบบ Oil free สำคัญกับอุตสาหกรรมอย่างไร
ประวัติศาสตร์ของปั๊มลม กับต้นกำเนิดที่คุณไม่เคยรู้มาก่อน
ปั๊มลมสกรูเลือกยังไง ให้ใช่สำหรับคุณ
ปั๊มลมสกรู กับ ความเชื่อผิดๆ
inverter ที่ติดตั้งในปั๊มลมมีประโยชน์ยังไง ?
แค่เปลี่ยนก็ประหยัด ปั๊มลม Inverter ช่วยคุณได้
ระบบ DSV คืออะไร ? สำคัญอย่างไรกับปั๊มลม
ทำไมระบบ IOT ปั๊มลมจึงเป็นเทรนด์หลักในแวดวงอุตสาหกรรม ?
ทำไมปั๊มลมถึงเหมาะกับการเชื่อมต่อ IOT ในปัจจุบัน ?
Data analytics ข้อมูลจากปั๊มลมสำคัญกับธุรกิจอย่างไร ?
6 วิธีการดูแลรักษาเครื่องอัดลมให้ใช้งานได้ยาวนาน
รู้หรือไม่? เครื่องอัดอากาศที่คุณใช้อยู่มีประสิทธิภาพเท่าไหร่
Delta Scroll Air Compressor
การเลือกขนาดถังลมและอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในการใช้ลมอย่างถูกต้อง
5 เหตุผลหลักที่โรงงานอุตสาหกรรมควรเลือกใช้เครื่องผลิตไนโตรเจน (Nitrogen Generator) ของทางปั๊มลมเดลต้า
กระทรวงพลังงาน จัดงาน ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2022 ร่วมขับเคลื่อนพลังงานสะอาดปี 65
การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องทำลมแห้ง (Air Dryer)
เทคนิคการเลือกใช้ปั๊มลม Inverter ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
น้ำในระบบอัดอากาศเกิดขึ้นมาได้อย่างไร
ทำไมลมที่ได้จากเครื่องอัดอากาศ (Air Compressor) ถึงมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิห้อง
ความแตกต่างระหว่างเครื่องอัดลมแบบลูกสูบและเครื่องอัดลมแบบสกรู
5 วิธีประหยัดค่าไฟ (Cost Reduction) ในระบบอัดอากาศ (Compressed Air)
การเดินท่อในระบบอัดอากาศ
การวัดประสิทธิภาพเครื่องอัดอากาศแบบสกรู
การเลือกใช้ขนาดเครื่องอัดอากาศประเภทสกรูและอุปกรณ์ในระบบอัดอากาศที่เหมาะสม
Mainline Filter แต่ละชนิดมีความสำคัญและแตกต่างกันอย่างไร
แนวทางการอนุรักษ์พลังงานในระบบอากาศอัด
Air Dryer คืออะไร ทำไมต้องมีในระบบปั๊มลม?
Flow rate คืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร
การติดตั้ง Auto drain แต่ละจุดในระบบอัดอากาศมีจุดไหนบ้างและมีความสำคัญอย่างไร
ขนาดถังลม ที่ใช้สำหรับปั๊มลมสกรู สำคัญอย่างไร?
ทำไมอุตสาหกรรมอาหารจึงควรใช้น้ำมันหล่อลื่นชนิด food grade สำหรับเครื่องปั๊มลม?
Delta compressor collaboration with The institute of industrial energy
ปั๊มลมสกรูดีอย่างไร และเหมาะกับอุตสาหกรรมประเภทใดบ้าง
ระบบการทำงานของปั๊มลมสกรูแบบ 2-stage มีข้อดี/แตกต่างอย่างไรกับการทำงานของปั๊มลม single stage
DSV ช่วยคุณในเรื่องของการทราบข้อมูลเพื่อนำไปชี้วัดการประหยัดพลังงานได้อย่างไร ?
ไขข้อแตกต่างระหว่างปั๊มลมสกรูแบบ Fixed Speed และ ปั๊มลมสกรูแบบ VSD (Variable Speed Drive)
ปั๊มลมเดลต้าอะไหล่แท้ส่งตรงจากโรงงาน
รู้หรือไม่? ถังลม DELTA ได้มาตรฐานสากล ASME
ปั๊มลมสกรูแบบ two stage ประหยัดพลังงานกว่า single stage ถึง 30%
ปั้มลมสกรูเดลต้า ไม่ว่าไกลแค่ไหนก็สามารถติดตามการทำงานเครื่องได้ทุกที่ทุกเวลา!
ปั๊มลมสกรูเดลต้าใช้งานง่ายผ่านหน้าจอระบบ Touch Screen
เครื่องอัดอากาศทำงานอย่างไร?
เครื่องปั๊มลมแบบใช้น้ำมันหล่อลื่น VS. แบบไม่ใช้น้ำมันหล่อลื่น
การทำงานโดยรวมของถังรับอากาศในระบบอัดอากาศ
ความสำคัญของเครื่องทำลมแห้งในการรักษาอุปกรณ์ปั๊มลมของคุณ
เครื่องอัดแก๊สธรรมชาติ (BIOGAS COMPRESSOR) จำเป็นต่ออุตสาหกรรมพลังงานทดแทนอย่างไร
คำแนะนำการเลือกซื้อปั๊มลมลูกสูบเบื้องต้น
มือใหม่ต้องรู้!! วิธีเลือกปั๊มลมที่ใช่ เหมาะกับการใช้งาน
การเช่าและการซื้อเครื่องอัดอากาศแบบไหนดีกว่ากัน?
4 สัญญาณเตือน ที่ปั๊มลมของคุณกำลังเสียค่าพลังงานโดยเปล่าประโยชน์
3 วิธีดูแลปั๊มลมสกรูอย่างไรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
มอเตอร์ของปั๊มลมเหมือนกันทุกแบรนด์หรือไม่?
3 เหตุผลปั๊มลมสกรูแบบ Inverter ประหยัดพลังงานมากกว่าปั๊มลมสกรูแบบ Fixed Speed
3 เทคนิคที่ทำให้ปั๊มลมของคุณประหยัดพลังงานมากกว่า 30%
4 โมเดลปั๊มลมสกรูของเดลต้าที่นิยมในโรงงานอุตสาหกรรม
นวัตกรรมใหม่ในการตรวจสอบ การทำงานของปั๊มลมผ่านระบบ DSV ยุคอุตสาหกรรม 4.0
เทคนิคการใช้ไนโตรเจนกับวงการอาหาร
www.adicomp-delta.com
โทรหาเรา คลิก!
x
เดลต้า คอมเพรสเซอร์ (เอเชีย)
Tel 024532374
Fax 024532349 ต่อ 208
Adicomp S.r.l
T. +39 0444 573979
F. +39 0444 809186
ส่งอีเมลหาเรา คลิก!
x
[email protected]
(ITALY)
[email protected]
(THAILAND)
บริษัท เดลต้า คอมเพรสเซอร์ (เอเชีย) จำกัด
112/6 ซอยเทียนทะเล 20 ถนนบางขุนเทียนชายทะเล แขวงแสมดำ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150
Adicomp S.r.l.
Via Scotte,
836033 Isola Vicentina, Vicenza - ITALY
All right reserved © Delta Compressor (Asia)
DESIGN By
สอบถามเพิ่มเติม
โทรหาเรา คลิก!
แชทกับเรา คลิก!
แชทกับเรา คลิก!
ขอใบเสนอราคา คลิก!